รายละเอียดทรัพย์
-เนื้อที่113ตารางวา
-พื้นที่ใช้สอย450ตารางเมตร
-สำนักงานพร้อมบ้าน2ชั้น
-8ห้องนอน
-5ห้องน้ำ
-2ชั้น
-จอดรถได้8คัน
-เหมาะทำเป็นHomeOffice
-เหมาะอยู่อาศัยสภาพดี
-สภาพดีพร้อมใช้งาน
-เหมาะทำเป็นโกดังเก็บของ
-เหมาะทำเป็นคลังสินค้า
-ที่ตั้งซอยพหลโยธิน11
-(เจริญพร 2)
-แขวงสามเสนใน
-เขตพญาไท
-กรุงเทพมหานคร 10400
พิกัด https://goo.gl/maps/62eh5YosUmMqgPrQ9

การเดินทาง
-รถไฟฟ้าสถานีอารีย์
-รถไฟฟ้าหลายเส้นทาง
-ถนนพหลโยธิน
-ถนนวิภาวดี
-ถนนเพชรบุรี
-ถนนสุทธิสาร
-ถนนรัชดา
-ถนนกำแพงเพชร
-ถนนพระรามที่6
-ทางด่วนพระรามที่6
-ถนนราชวิถี
-ถนนวิชัยยุทธ
-ถนนดินแดง
-ถนนลาดพร้าว
-ถนนพระรามที่4
-เชื่อมการเดินทางหลายเส้นทาง

สถานที่ใกล้เคียง
– ใกล้อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ
– ประตูน้ำ
– เวิลด์เทรดเซ็นเตอร์
– สยามพารากอน
– สีลม-สามย่าน
– มหาวิทยาลัยจุฬา
– บิ๊กซีสะพานควาย
– สวนจตุจักร
– เซ็นทรัลลาดพร้าว
– ใกล้โรงเรียนอนุบาลสามเสน
– สำนักงานสลากกินแบ่งรัฐบาลอุปถัมภ์
– ใกล้กรมสรรพากร
– ใกล้กองประเมินราคาทรัพย์สิน กรมธนารักษ์
– ใกล้ศูนย์บริการทางการแพทย์
– คณะแพทยศาสตร์รามาธิบดี สาขาโรงเรียนเรวดี
– ใกล้สถานีตำรวจนครบาลบางซื่อ
– ใกล้ธนาคารกสิกรไทย
– สำนักงานเขตพญาไท
– ใกล้สถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบก
– ใกล้โรงพยาบาลราชวิถี
– ใกล้สถาบันสุขภาพเด็กแห่งชาติมหาราชินี
– ใกล้โรงพยาบาลเวชศาสตร์เขตร้อน
– ใกล้โรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้า
– ใกล้วิทยาลัยพยาบาลกองทัพบก
– ใกล้ศูนย์การแพทย์สมเด็จพระเทพรัตน์ โรงพยาบาลรามาธิบดี
– ใกล้กรมโยธาธิการและผังเมือง
– ใกล้โรงพยาบาลวิชัยยุทธ
– ใกล้กระทรวงการคลัง
– ใกล้กรมประชาสัมพันธ์
– ใกล้สถานีกลางกรุงเทพอภิวัฒน์

ขาย 43,000,000 บาท
สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติม
โทร.065-253-9924
โทร.086-465-9485
โทร.02-050-3261

e-mail:baanruaydee@gmail.com
หรือคลิ๊กที่ลิงค์เพื่อสอบถาม
https://lin.ee/Jiq1hvO

บริหารการขายโดย
บริษัท บ้านรวยดีมีสุข
บริษัท จีจีพี จำกัด
สำนักงานเลขที่235/8
ถนนราษฏร์พัฒนา
แขวงราษฏร์พัฒนา
เขตสะพานสูง
กรุงเทพมหานคร 10240

www.ggp-property.com
www.baanruaydeemeesook.co.th

 

 

ธนาคารอาคารสงเคราะห์ ขานรับนโยบายรัฐบาล โดยพลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม ในการช่วยเหลือลูกค้าที่ได้รับผลกระทบจาก “พายุมู่หลาน” ที่ส่งผลให้ประเทศไทยมีฝนตกหนักถึงหนักมาก และเกิดน้ำท่วมฉับพลันในบางพื้นที่ของภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และภาคตะวันออกด้วย “มาตรการช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติทางธรรมชาติปี 2565” 7 มาตรการ ประกอบด้วย 1.ลดเงินงวด 50% จากเงินงวดปกติ และลดอัตราดอกเบี้ยเหลือ 3% ต่อปี เป็นระยะเวลา 6 เดือน 2.ให้กู้เพิ่มหรือกู้ใหม่อัตราดอกเบี้ย 3.00% ต่อปี คงที่ 1 ปีแรก 3.ประนอมหนี้ระยะเวลาไม่เกิน 1 ปี 6 เดือน และคิดอัตราดอกเบี้ย 0% ต่อปี 6 เดือน ไม่ต้องชำระเงินงวด 4.ประนอมหนี้ไม่เกิน 1 ปี คิดอัตราดอกเบี้ย 0% ต่อปี นาน 6 เดือนแรก ผ่อนเงินงวดเพียง 1,000 บาท 5.กรณีเสียชีวิตหรือทุพพลภาพถาวรให้ผ่อนชำระดอกเบี้ย 0.01% ต่อปี 6.ที่อยู่อาศัยเสียหายทั้งหลังซ่อมแซมไม่ได้ ให้ปลอดหนี้ในส่วนของอาคาร และ 7.พิจารณาสินไหมเร่งด่วน (Fast Track) สำหรับลูกค้าที่ทำกรมธรรม์ประกันอัคคีภัย จ่ายตามความเสียหายจริงรวมทุกภัยธรรมชาติสูงสุด 30,000 บาทต่อปี

นายฉัตรชัย ศิริไล กรรมการผู้จัดการ ธนาคารอาคารสงเคราะห์ (ธอส.) เปิดเผยว่า หลังจากประเทศไทยต้องประสบกับ “พายุมู่หลาน” ที่ส่งผลให้มีฝนตกหนักถึงหนักมาก และเกิดน้ำท่วมฉับพลันในบางพื้นที่ของภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และภาคตะวันออก สร้างผลกระทบต่อที่อยู่อาศัย และการประกอบอาชีพของประชาชน ธอส. ในฐานะสถาบันการเงินเฉพาะกิจของรัฐมีที่มีพันธกิจ “ทำให้คนไทยมีบ้าน” จึงเร่งบรรเทาความเดือดร้อนให้แก่ลูกค้าประชาชน ตามนโยบายรัฐบาลของ พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม ด้วยการจัดทำ “มาตรการช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติ ทางธรรมชาติ ปี 2565” (กรอบวงเงินรวม 1,000 ล้านบาท) โดยพิจารณาตามระดับความเสียหาย ซึ่งมีรายละเอียด ดังนี้

มาตรการที่ 1 สำหรับลูกค้าปัจจุบันของ ธอส. ที่อยู่ระหว่างการใช้อัตราดอกเบี้ยลอยตัว(MRR -0.50%,MRR -1.00% หรือ MRR เป็นต้น) กรณีหลักประกัน (ที่อยู่อาศัยที่จดจำนองกับธนาคาร) ของตนเองหรือคู่สมรสได้รับความเสียหายจากการประสบภัยพิบัติทางธรรมชาติสามารถขอลดเงินงวด 50% จากเงินงวดที่ชำระปกติ และลดอัตราดอกเบี้ยเหลือ 3% ต่อปี เป็นระยะเวลา 6 เดือน

มาตรการที่ 2 สำหรับลูกค้ากู้ใหม่ หรือลูกค้าปัจจุบันของ ธอส. ที่หลักประกันของตนเองหรือคู่สมรสได้รับความเสียหายจากการประสบภัยพิบัติทางธรรมชาติ สามารถขอกู้เพิ่ม หรือกู้ใหม่ เพื่อปลูกสร้างอาคารทดแทนหลังเดิม หรือกู้ซ่อมแซมอาคารที่ได้รับความเสียหาย วงเงินให้กู้ต่อรายไม่เกิน 1 ล้านบาท ต่อ 1 หลักประกัน คิดอัตราดอกเบี้ยเงินกู้คงที่ 3% ต่อปี นาน 1 ปี ปีที่ 2 – 3 อัตราดอกเบี้ย MRR –3.15% ต่อปี(ปัจจุบันเท่ากับ 3% ต่อปี) และปีที่ 4 จนถึงตลอดอายุสัญญาเงินกู้กรณีลูกค้าสวัสดิการ ดอกเบี้ยเท่ากับ MRR -1% ต่อปี กรณีลูกค้ารายย่อยทั่วไป ดอกเบี้ยเท่ากับ MRR – 0.50% ต่อปี พร้อมยกเว้นค่าธรรมเนียมในรายการที่เกี่ยวข้องให้ทั้งหมด ประกอบด้วย ค่าธรรมเนียมการขอเปลี่ยนแปลงอัตราดอกเบี้ยเงินกู้ และค่าธรรมเนียมการขอเปลี่ยนแปลงเงื่อนไขการกู้ทุกกรณีหลังจากนิติกรรมแล้วในรายการที่เกี่ยวข้อง

มาตรการที่ 3 ลูกค้าสถานะ NPL ที่หลักประกันได้รับความเสียหาย ให้ประนอมหนี้ระยะเวลาไม่เกิน 1 ปี 6 เดือน โดยคิดอัตราดอกเบี้ย 0% ต่อปี นาน 6 เดือนแรก และไม่ต้องชำระเงินงวด จากนั้นเดือนที่ 7-18 อัตราดอกเบี้ย 1% ต่อปี โดยให้ผ่อนชำระเงินงวดไม่น้อยกว่าดอกเบี้ยรายเดือน และเมื่อครบระยะเวลาประนอมหนี้ให้กลับมาใช้อัตราดอกเบี้ยตามสิทธิเดิมก่อนที่จะใช้มาตรการนี้

มาตรการที่ 4 ลูกค้าสถานะ NPL ที่ได้รับผลกระทบด้านรายได้ ให้ประนอมหนี้เป็นระยะเวลาไม่เกิน 1 ปี โดยคิดอัตราดอกเบี้ย 0% ต่อปี นาน 6 เดือนแรก และผ่อนชำระเงินงวดเพียง 1,000 บาท (ตัดเงินต้นทั้งหมด) จากนั้นเดือนที่ 7-12 อัตราดอกเบี้ย 1% ต่อปี โดยให้ผ่อนชำระเงินงวดไม่น้อยกว่าดอกเบี้ยรายเดือน บวกอีก 100 บาทและเมื่อผ่อนชำระครบระยะเวลาประนอมหนี้ ให้ลูกค้ากลับมาใช้อัตราดอกเบี้ยตามสิทธิเดิมก่อนที่จะใช้มาตรการนี้

มาตรการที่ 5 ลูกค้าสถานะบัญชีปกติและสถานะ NPL ที่เสียชีวิตหรือทุพพลภาพถาวร ให้ผ่อนชำระโดยใช้อัตราดอกเบี้ย 0.01% ต่อปี ตลอดระยะเวลาที่คงเหลือ (พิจารณาเป็นรายกรณี)

มาตรการที่ 6 ลูกค้าสถานะบัญชีปกติและสถานะ NPL หากที่อยู่อาศัยได้รับความเสียหายทั้งหลังและไม่สามารถซ่อมแซมได้ ให้ปลอดหนี้ในส่วนของราคาอาคาร และให้ผ่อนชำระต่อเฉพาะในส่วนของที่ดินที่คงเหลือเท่านั้น (พิจารณาเป็นรายกรณี)

มาตรการที่ 7 พิจารณาสินไหมเร่งด่วน (Fast Track) สำหรับลูกค้าที่ทำกรมธรรม์ประกันอัคคีภัยสำหรับที่อยู่อาศัยซึ่งคุ้มครองภัยธรรมชาติ รวมถึงกรณีน้ำท่วม หรือ ลมพายุ พิจารณาจ่ายค่าสินไหมให้กับลูกค้าที่เป็นผู้ประสบภัยทุกรายอย่างเร่งด่วนเป็นกรณีพิเศษ โดยผู้เอาประกันยื่นเอกสารแจ้งความเสียหาย จ่ายตามความ เสียหายจริงตามภาพถ่าย รวมทุกภัยธรรมชาติไม่เกิน 20,000 บาทต่อปี และสำหรับลูกค้าที่มีกรมธรรม์เริ่มความคุ้มครองตั้งแต่วันที่ 1 พฤศจิกายน 2562 เพิ่มความคุ้มครองภัยธรรมชาติตามความเสียหายจริงจากหลักฐานภาพถ่าย แต่ไม่เกินภัยละ 30,000 บาทต่อปี

ทั้งนี้ ลูกค้าที่ประสงค์ขอรับบริการตามมาตรการที่ 1-6 สามารถติดต่อได้ที่สาขาของ ธอส. ตั้งแต่บัดนี้เป็นต้นไปถึงวันที่ 30 กันยายน 2565 และมาตรการที่ 7 ติดต่อได้ที่สาขาของ ธอส. ตั้งแต่บัดนี้เป็นต้นไป สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ G H Bank Call Center โทร 0-2645-9000 หรือ Facebook Fanpage ธนาคารอาคารสงเคราะห์ หรือที่ ธอส. ทุกสาขาทั่วประเทศ และติดตามข้อมูลข่าวสารได้ที่ Application : GHB ALL และเว็บไซต์www.ghbank.co.th

ฝ่ายสื่อสารองค์กร : 16 สิงหาคม 2565
เครดิต https://www.ghbank.co.th/news/detail/public-relations/press-16-08-2022

ระวัง ปล่อยที่ดินทิ้งร้างนานเกิน 10 ปี โดนรัฐยึดคืน

เมื่อวันที่ 18 สิงหาคม ผู้สื่อข่าวรายงานว่าเพจเฟซบุ๊ก Anti-Fake News Center Thailand โพสต์ข้อความระบุว่าตามที่มีข้อมูลปรากฏในสื่อต่างๆ เกี่ยวกับประเด็นเรื่องหากปล่อยที่ดินทิ้งร้างนานเกิน 10 ปี จะโดนรัฐบาลยึดคืน ทางศูนย์ต่อต้านข่าวปลอมได้ดำเนินการตรวจสอบข้อเท็จจริงโดย กรมที่ดิน กระทรวงมหาดไทย พบว่าประเด็นดังกล่าวนั้น เป็นข้อมูลจริง

ตามมาตรา 6 แห่งประมวลกฎหมายที่ดิน บัญญัติว่านับตั้งแต่วันที่ประกาศของคณะปฏิวัติฉบับนี้ ใช้บังคับบุคคลใดมีสิทธิในที่ดินตามโฉนดที่ดิน หรือหนังสือรับรองการทำประโยชน์ หากบุคคลนั้นทอดทิ้ง ไม่ทำประโยชน์ในที่ดิน หรือปล่อยที่ดินให้เป็นที่ร้างว่างเปล่าเกินกำหนดเวลาดังต่อไปนี้
1. สำหรับที่ดินที่มีโฉนดที่ดิน เกินสิบปีติดต่อกัน
2. สำหรับที่ดินที่มีหนังสือรับรองการทำประโยชน์ เกิน 5 ปีติดต่อกัน

ให้ถือว่าเจตนาสละสิทธิในที่ดินเฉพาะส่วนที่ทอดทิ้งไม่ทำประโยชน์ หรือที่ปล่อยให้เป็นที่รกร้างว่างเปล่า เมื่ออธิบดีได้ยื่นคำร้องต่อศาล และศาลได้สั่งเพิกถอนหนังสือแสดงสิทธิในที่ดินดังกล่าว ให้ที่ดินนั้นตกเป็นของรัฐเพื่อดำเนินการตามประมวลกฎหมายนี้ต่อไป ซึ่งกระทรวงมหาดไทยได้วางระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยการดำเนินการเกี่ยวกับที่ดินที่ถูกทอดทิ้งไม่ทำประโยชน์หรือปล่อยให้เป็นที่รกร้างว่างเปล่าให้ตกเป็นของรัฐ พ.ศ. 2522 ลงวันที่ 5 มีนาคม พ.ศ. 2522 ว่าการพิจารณาว่าที่ดินแปลงใดมีผู้ทอดทิ้งไม่ทำประโยชน์หรือปล่อยให้เป็นที่รกร้างว่างเปล่าให้พิจารณาถึงการทำประโยชน์ เพียงแต่ล้อมรั้วหรือเสียภาษีบำรุงท้องที่ แต่ไม่ทำประโยชน์ ย่อมถือว่าเป็นการทอดทิ้งไม่ทำประโยชน์หรือปล่อยให้เป็นที่รกร้างว่างเปล่า สำหรับที่ดินซึ่งเป็นที่อยู่อาศัยในหมู่บ้านหรือในเมือง แม้จะยังไม่ได้ปลูกบ้านอยู่อาศัยแต่เจ้าของยังมีเจตนาถือเพื่อตนอยู่ ก็ให้ถือว่าที่ดินนั้นเป็นที่ดินที่ได้ทำประโยชน์แล้วโดยสภาพ
ซึ่งภายในเดือนมกราคมของทุกปีจังหวัดจะสำรวจว่ามีที่ดินแปลงใดบ้างที่มีผู้ทอดทิ้งไม่ทำประโยชน์ หรือปล่อยให้เป็นที่รกร้างว่างเปล่าเกินกำหนดเวลา 10 ปีติดต่อกัน สำหรับที่ดินที่มีโฉนดที่ดิน หรือ 5 ปีติดต่อกันสำหรับที่ดินที่มีหนังสือรับรองการทำประโยชน์ และรายงานกระทรวงมหาดไทยทราบ ซึ่งก่อนส่งเรื่องให้กระทรวงมหาดไทยจะมีขั้นตอนการดำเนินการสรุปได้ ดังนี้
1. จังหวัดหรืออำเภอจะทำหนังสือแจ้งให้เจ้าของที่ดินที่ทอดทิ้งไม่ทำประโยชน์ หรือปล่อยให้เป็นที่รกร้างว่างเปล่า จัดการหรือเร่งรัดให้มีการทำประโยชน์ภายในเวลา 3 เตือนนับแต่วันที่ได้รับแจ้ง
2. เมื่อครบกำหนดแล้วยังไม่จัดการให้มีการทำประโยชน์ให้จังหวัดตั้งกรรมการเพื่อพิจารณาว่ามีการทอดทิ้ง ไม่ทำประโยชน์ในที่ดินหรือปล่อยที่ดินให้เป็นที่รกร้างว่างเปล่าเกินกำหนดเวลาจริงหรือไม่เพียงใด
3. เมื่อคณะกรรมการมีความเห็นว่ามีการทอดทิ้งไม่ทำประโยชน์ในที่ดิน หรือปล่อยที่ดินให้เป็นที่รกร้างว่างเปล่าเกินกำหนดเวลาจริง ให้จังหวัดทำความเห็นส่งกรมที่ตินเพื่อพิจารณาดำเนินการส่งเรื่องให้อัยการยื่นคำร้องต่อศาลเพื่อให้ศาลสั่งเพิกถอนหนังสือแสตงสิทธิ์ในที่ดินดังกล่าวให้ตกเป็นของรัฐต่อไป
ทั้งนี้ เพื่อให้ประชาชนได้รับข้อมูลข่าวสารจากกรมที่ดิน สามารถติดตามได้ที่ www.dol.go.th หรือโทร. 02 1415555

เครดิต https://www.matichon.co.th/social/news_3514116

มาตรการกระตุ้นตลาดอสังหาฯ จากรัฐบาล ปี 2565 ปรับลดค่าโอนและจำนอง เหลือ 0.01% ให้ประโยชน์ทั้งบ้านมือหนึ่ง-มือสอง โดยเป็นไปตามเงื่อนไขที่กำหนด

ตามที่ เว็บไซต์ราชกิจจานุเบกษา ได้เผยแพร่ประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง การเปลี่ยนแปลงอัตราการจดทะเบียนการโอนอสังหาริมทรัพย์ และจดทะเบียนจำนองอสังหาริมทรัพย์ เนื่องจากอัตราเดิมสิ้นสุดไปแล้วเมื่อวันที่ 31 ธันวาคม 2564 ที่ผ่านมา

อีกทั้งเดิมทีได้รับส่วนลดค่าโอนและจำนองอสังหาริมทรัพย์จะได้เฉพาะที่อยู่อาศัยที่สร้างใหม่ในโครงการบ้านจัดสรร แต่มติ ครม. ล่าสุดข้างต้น ได้เพิ่มผู้ได้รับประโยชน์จากการซื้อขายบ้านมือสองด้วย

“ประชาชาติธุรกิจ” รวบรวมเงื่อนไข ประเภท รวมถึงการคิดคำนวณการปรับลดค่าจะทะเบียนโอนและจำนองอสังหาริมทรัพย์ ในปี 2565 เพื่อเป็นข้อมูลให้กับเจ้าของอสังหาริมทรัพย์ได้ทราบ

ลดค่าโอน-จำนองอสังหาฯ อัตราใหม่

การปรับลดค่าจดทะเบียนโอนและจำนองอสังหาริมทรัพย์ โดยค่าจดทะเบียนการโอนอสังหาริมทรัพย์มีอัตราร้อยละ 2 และค่าจดทะเบียนการจำนองอสังหาริมทรัพย์ มีอัตราร้อยละ 1 ให้ ปรับให้เหลือเพียงร้อยละ 0.01 สำหรับอสังหาริมทรัพย์ที่มีการจดทะเบียนการโอนและจำนองในคราวเดียวกัน

อัตราดังกล่าว มีเงื่อนไขว่า จะต้องเป็นอสังหาริมทรัพย์ที่มีราคาซื้อขายและราคาประเมินทุนทรัพย์ไม่เกิน 3 ล้านบาท วงเงินจำนองไม่เกิน 3 ล้านบาท โดยผู้ที่ซื้ออสังหาริมทรัพย์จะต้องเป็นบุคคลธรรมดาที่มีสัญชาติไทย

มีผลตั้งแต่วันถัดจากวันประกาศกฎกระทรวงในราชกิจจานุเบกษา ถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2565

ประเภทอสังหาฯ ที่ได้รับสิทธิลดค่าโอน-จำนอง

เทียบการคำนวณค่าโอน-จำนองอสังหาฯ

อัตราค่าธรรมเนียมการโอนกรรมสิทธิและการจำนองอสังหาริมทรัพย์ ที่ปรับลดเหลือเพียง 0.01% มีสูตรการคำนวณ ดังนี้

กรณีบ้านราคา 3,000,000 บาท

การโอนกรรมสิทธิ

การจำนองอสังหาริมทรัพย์

รวมค่าใช้จ่าย : จำนวน 600 บาท หรือ จ่ายเพียงล้านละ 200 บาท

กรณีบ้านราคา 2,000,000 บาท

การโอนกรรมสิทธิ

การจำนองอสังหาริมทรัพย์

รวมค่าใช้จ่าย : จำนวน 400 บาท หรือ จ่ายเพียงล้านละ 200 บาท

กรณีบ้านราคา 1,500,000 บาท

การโอนกรรมสิทธิ

การจำนองอสังหาริมทรัพย์

รวมค่าใช้จ่าย : จำนวน 300 บาท หรือ จ่ายเพียงล้านละ 200 บาท

ช่องทางการคำนวณค่าธรรมเนียม

หากเจ้าของอสังหาริมทรัพย์ อยากคำนวณค่าใช้จ่ายการในการโอนกรรมสิทธิ และการจำนองอสังหาริมทรัพย์ สามารถเข้าไปคำนวณได้ที่เว็บไซต์ของกรมธนารักษ์ ซึ่งยังมีการคำนวณค่าใช้จ่ายประเภทอื่น อย่างการขาย ขายฝาก และเช่า ณ สำนักงานที่ดิน อีกด้วย

เครดิต:www.prachachat.net/property/news-844732

Downsizing, upsizing, looking for something new, or any reason in between, you’re considering selling a New York property and we’re ready to help you with 23 full-time Sales Executives, a full-service support staff, legal department, and in-house marketing department. WP Estate invests over $2 million each year marketing properties on New York only, targeting qualified buyers. That’s almost $5,000 per listing. No other company invests in New York like we do.

Choosing to sell your house is a big decision that brings with it a variety of challenges. From attracting buyers to negotiating contracts, it’s helpful to have a professional real estate agent on your side to help reduce stress and lead to the best possible outcome. Finding the right real estate agent can present a challenge in itself, however, with the high quantity of qualified Australian agents out there. To get started with selling your house, you’ll want to compare agents carefully to find an individual who will be most effective in helping you with your particular needs.

New York County as a whole covers a total area of 33.77 square miles (87.5 km2), of which 22.96 square miles (59.5 km2) are land and 10.81 square miles (28.0 km2) are water.

A modern redrawing of the 1807 version of the Commissioner’s Grid plan for Manhattan, a few years before it was adopted in 1811. Central Park is absent.

One neighborhood of New York County is contiguous with The Bronx. Marble Hill at one time was part of Manhattan Island, but the Harlem River Ship Canal, dug in 1895 to improve navigation on the Harlem River, separated it from the remainder of Manhattan as an island between the Bronx and the remainder of Manhattan. Before World War I, the section of the original Harlem River channel separating Marble Hill from The Bronx was filled in, and Marble Hill became part of the mainland.

The blog post slider is automatically created with images you upload to the post and one video from Vimeo or YouTube (optional). It’s built on the Boostrap slider.

When you enter the blog post, the slider is the first to show. Click on any thumbnail, and the slider will open. You have an up arrow to close the slider back to its original format.

If you don’t want to show the post slider, you can disable it for each post from Admin – Post settings.

To add a video to the slider simply Copy/Paste the video embedded code in Post Settings. The video will always show as the first thumbnail.

On the topic of alignment, it should be noted that users can choose from the options of None, Left, Right, and Center. In addition, they also get the options of Thumbnail, Medium, Large & Fullsize.

The image above happens to be centered.

The rest of this paragraph is filler for the sake of seeing the text wrap around the 150×150 image, which is left aligned.

As you can see the should be some space above, below, and to the right of the image. The text should not be creeping on the image. Creeping is just not right. Images need breathing room too. Let them speak like you words. Let them do their jobs without any hassle from the text. In about one more sentence here, we’ll see that the text moves from the right of the image down below the image in seamless transition. Again, letting the do it’s thang. Mission accomplished!

And now for a massively large image. It also has no alignment.

Image Alignment 1200x400

The image above, though 1200px wide, should not overflow the content area. It should remain contained with no visible disruption to the flow of content.

Image Alignment 300x200

And now we’re going to shift things to the right align. Again, there should be plenty of room above, below, and to the left of the image. Just look at him there… Hey guy! Way to rock that right side. I don’t care what the left aligned image says, you look great. Don’t let anyone else tell you differently.

In just a bit here, you should see the text start to wrap below the right aligned image and settle in nicely. There should still be plenty of room and everything should be sitting pretty. Yeah… Just like that. It never felt so good to be right.

And just when you thought we were done, we’re going to do them all over again with captions!

Image Alignment 580x300

Look at 580×300 getting some caption love.

The image above happens to be centered. The caption also has a link in it, just to see if it does anything funky.

Image Alignment 150x150

Itty-bitty caption.

The rest of this paragraph is filler for the sake of seeing the text wrap around the 150×150 image, which is left aligned.

As you can see the should be some space above, below, and to the right of the image. The text should not be creeping on the image. Creeping is just not right. Images need breathing room too. Let them speak like you words. Let them do their jobs without any hassle from the text. In about one more sentence here, we’ll see that the text moves from the right of the image down below the image in seamless transition. Again, letting the do it’s thang. Mission accomplished!

And now for a massively large image. It also has no alignment.

Image Alignment 1200x400

Massive image comment for your eyeballs.

The image above, though 1200px wide, should not overflow the content area. It should remain contained with no visible disruption to the flow of content.

Image Alignment 300x200

Feels good to be right all the time.

And now we’re going to shift things to the right align. Again, there should be plenty of room above, below, and to the left of the image. Just look at him there… Hey guy! Way to rock that right side. I don’t care what the left aligned image says, you look great. Don’t let anyone else tell you differently.

In just a bit here, you should see the text start to wrap below the right aligned image and settle in nicely. There should still be plenty of room and everything should be sitting pretty. Yeah… Just like that. It never felt so good to be right.

And that’s a wrap, yo! You survived the tumultuous waters of alignment. Image alignment achievement unlocked!

To the north, the Harlem River divides Manhattan Island from Bronx and the mainland United States. Several small islands are also part of the borough of Manhattan, including Randall’s Island, Wards Island, and Roosevelt Island in the East River, and Governors Island and Liberty Island to the south in New York Harbor. Manhattan Island is 22.7 square miles (59 km2) in area, 13.4 miles (21.6 km) long and 2.3 miles (3.7 km) wide, at its widest (near 14th Street).

Manhattan is loosely divided into Downtown (Lower Manhattan), Midtown (Midtown Manhattan), and Uptown (Upper Manhattan), with Fifth Avenue dividing Manhattan’s east and west sides. Manhattan Island is bounded by the Hudson River to the west and the East River to the east.

The bedrock underlying much of Manhattan is a mica schist known as Manhattan Schist. It is a strong, competent metamorphic rock created when Pangaea formed. It is well suited for the foundations of tall buildings and the two large concentrations of skyscrapers on the island occur in locations where the formation is close to the surface. In Central Park, outcrops of Manhattan Schist occur and Rat Rock is one rather large example.

The logo is a rebus borrowed by Milton Glaser from a Montreal radio campaign. CJAD Montreal Quebec Canada ran a campaign entitled “Montreal, the city with a heart”. The logo consists of the capital letter I, followed by a red heart symbol (♥), below which are the capital letters N and Y, set in a rounded slab serif typeface called American Typewriter.

Glaser expected the campaign to last only a couple months and did the work pro bono. The innovative pop-style icon became a major success and has continued to be sold for years. In the popular mind (though this was not the original intention) the logo has become closely associated with New York City, and the placement of the logo on plain white T-shirts readily sold in the city has widely circulated the appearance of the image, making it a commonly recognized symbol. Glaser’s original concept sketch and presentation boards were donated by Doyle to the permanent collection of the Museum of Modern Art, New York.

In 1977, William S. Doyle, Deputy Commissioner of the New York State Department of Commerce hired advertising agency Wells Rich Greene to develop a marketing campaign for New York State. Doyle also recruited Milton Glaser, a productive graphic designer to work on the campaign, and created the design based on Wells Rich Greene’s advertising campaign.

Compare Listings